เนื้อหาการเรียนการสอน (Knowledge)
วันนี้เริ่มต้นการเรียนการสอนด้วยการนำเสนอวีดีโอสื่อการสอนของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ได้แก้ไขแล้วของแต่ละกลุ่ม
คานดีดจากไม้ไอติม
ขวดน้ำนักขนของ
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้นั่งเป็นกลุ่มตามหน่วยการสอนที่ได้คิดกันไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาเพื่อระดมความคิดในการเขียนแผนการจัดสอนที่จะจัดกิจกรรมให้เด็กๆ ในแต่ละวันโดยมีอาจารย์ให้คำปรึกษา
แผนการสอนหน่วยไข่
วันจันทร์ เรื่อง ชนิด/ประเภท
วัตถุประสงค์
1. เด็กบอกชื่อไข่ได้อย่างน้อย 5 ชนิด
2. เด็กสามารถจัดประเภทของไข่ได้
3. เด็กนับจำนวนไข่ได้โดยใช้เลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. เด็กสามารถตอบคำถามได้
1. เด็กบอกชื่อไข่ได้อย่างน้อย 5 ชนิด
2. เด็กสามารถจัดประเภทของไข่ได้
3. เด็กนับจำนวนไข่ได้โดยใช้เลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. เด็กสามารถตอบคำถามได้
สาระที่ควรเรียนรู้
ไข่มีหลายชนิด ไข่เเต่ละชนิดมีช่อเรียกเเตกต่างกัน เช่น ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่ห่าน
ไข่มีหลายชนิด ไข่เเต่ละชนิดมีช่อเรียกเเตกต่างกัน เช่น ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่ห่าน
ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสติปัญญา
- การรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรสและกลิ่น
- การพูดคุยกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง
- การสำรวจอธิบายความเหมือน ความต่างของสิ่งต่างๆ
- การจับคู่ การจำเเนก การจัดกลุ่ม - การเปรียบเทียบ
- การคาดคะเนสิ่งต่างๆ
- การเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน
- การนับสิ่งต่างๆ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
ด้านสติปัญญา
- การรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วยการมอง ฟัง สัมผัส ชิมรสและกลิ่น
- การพูดคุยกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง
- การสำรวจอธิบายความเหมือน ความต่างของสิ่งต่างๆ
- การจับคู่ การจำเเนก การจัดกลุ่ม - การเปรียบเทียบ
- การคาดคะเนสิ่งต่างๆ
- การเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน
- การนับสิ่งต่างๆ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. เด็กและครูอ่านคำคล้องจองไข่ร่วมกัน "ไข่ไข่ไข่ ไข่มีหลายชนิด ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่ห่าน มาสิมาทานกันเถอะเด็กดี"
2. ถามเด็กว่าในคำคล้องนี้เด็กรู้จักไข่อะไรบ้าง แล้วบันทึก จากนั้นถามเด็กอีกว่านอกจากในคำคล้องจองนี้เด็กๆรู้จักไข่อะไรอีกบ้าง
ขั้นสอน
3. นำไข่เป็ดและไข่ไก่ใส่แฝงไข่คลุมผ้าไว้ แล้วถามเด็กๆว่าในผ้านี้มีอะไร เมื่อเด็กตอบถามเด็กอีกว่ามีไข่อะไรบ้าง และเด็กๆคิดว่ามีไข่กี่ฟอง เสร็จแล้วนำออกมานับพร้อมใส่ตัวเลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. หยิบไข่ออกมาทีละฟอง นำมาจัดกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ไข่ไก่ มีสีเหลืองออกน้ำตาล นี่คือไข่ไก่ แล้วให้เด็กๆออกมาสังเกตดูว่าไข่ใบไหนที่เป็นไข่ไก่อีก ให้เด็กจับไข่ไก่เเยกออกมาจนหมด และที่เหลือไม่ใช่ไข่ไก่ เราเรียกมันว่าไข่เป็ด
5. นับดูว่าไข่กลุ่มไหนมีจำนวนมากกว่ากัน นับ 1 ต่อ 1
ขั้นสรุป
6. ถามเด็กว่าวันนี้เด็กรู้จักไข่อะไรบ้าง
ขั้นนำ
1. เด็กและครูอ่านคำคล้องจองไข่ร่วมกัน "ไข่ไข่ไข่ ไข่มีหลายชนิด ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่ห่าน มาสิมาทานกันเถอะเด็กดี"
2. ถามเด็กว่าในคำคล้องนี้เด็กรู้จักไข่อะไรบ้าง แล้วบันทึก จากนั้นถามเด็กอีกว่านอกจากในคำคล้องจองนี้เด็กๆรู้จักไข่อะไรอีกบ้าง
ขั้นสอน
3. นำไข่เป็ดและไข่ไก่ใส่แฝงไข่คลุมผ้าไว้ แล้วถามเด็กๆว่าในผ้านี้มีอะไร เมื่อเด็กตอบถามเด็กอีกว่ามีไข่อะไรบ้าง และเด็กๆคิดว่ามีไข่กี่ฟอง เสร็จแล้วนำออกมานับพร้อมใส่ตัวเลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. หยิบไข่ออกมาทีละฟอง นำมาจัดกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ไข่ไก่ มีสีเหลืองออกน้ำตาล นี่คือไข่ไก่ แล้วให้เด็กๆออกมาสังเกตดูว่าไข่ใบไหนที่เป็นไข่ไก่อีก ให้เด็กจับไข่ไก่เเยกออกมาจนหมด และที่เหลือไม่ใช่ไข่ไก่ เราเรียกมันว่าไข่เป็ด
5. นับดูว่าไข่กลุ่มไหนมีจำนวนมากกว่ากัน นับ 1 ต่อ 1
ขั้นสรุป
6. ถามเด็กว่าวันนี้เด็กรู้จักไข่อะไรบ้าง
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- แผ่นชาร์ตคำคล้องจองไข่
- แผ่นชาร์ตบันทึกชื่อไข่ที่เด็กรู้จัก
- ไข่เป็ด ไข่ไก่
- แฝงไข่
- ตัวเลขฮินดูอารบิค
- แผ่นชาร์ตคำคล้องจองไข่
- แผ่นชาร์ตบันทึกชื่อไข่ที่เด็กรู้จัก
- ไข่เป็ด ไข่ไก่
- แฝงไข่
- ตัวเลขฮินดูอารบิค
การวัดเเละประเมินผล
1. จากการสนทนาถามเด็ก
2. จากการสังเกตกระบวนการขณะเด็กทำกิจกรรมจัดประเภทไข่
3. จากการสังเกตกระบวนการขณะเด็กนับจำนวนและใช้เลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. จากการสนทนาถามเด็ก
1. จากการสนทนาถามเด็ก
2. จากการสังเกตกระบวนการขณะเด็กทำกิจกรรมจัดประเภทไข่
3. จากการสังเกตกระบวนการขณะเด็กนับจำนวนและใช้เลขฮินดูอารบิคกำกับ
4. จากการสนทนาถามเด็ก
การบูรณาการ
คณิตศาสตร์
ภาษา
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
ภาษา
วิทยาศาสตร์
แผนการสอนหน่วยไข่
วันอังคาร เรื่อง ลักษณะของไข่
วัตถุประสงค์
1. เด็กอธิบายลักษณะที่เหมือนและต่างกันของไข่ได้ เช่น สี ขนาด รูปร่างส่วนประกอบ และกลิ่น
2. เด็กวิเคราะห์ลักษณะของไข่ได้ เช่น สี ขนาด รูปร่าง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
3. เด็กเปรียบเทียบความต่างของไข่ได้ โดยใช้ไดอะแกรม
1. เด็กอธิบายลักษณะที่เหมือนและต่างกันของไข่ได้ เช่น สี ขนาด รูปร่างส่วนประกอบ และกลิ่น
2. เด็กวิเคราะห์ลักษณะของไข่ได้ เช่น สี ขนาด รูปร่าง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
3. เด็กเปรียบเทียบความต่างของไข่ได้ โดยใช้ไดอะแกรม
สาระที่ควรรู้
ไข่มีลักษณะที่แตกต่างกัน สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ และกลิ่น เช่น ไข่เป็ด ไข่ไก่
ไข่มีลักษณะที่แตกต่างกัน สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ และกลิ่น เช่น ไข่เป็ด ไข่ไก่
ประสบการณ์สำคัญ
- การวิเคราะห์
- การเปรียบเทียบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ให้เด็กๆ ช่วยกันต่อจิ๊กซอว์รูปไข่
ขั้นสอน
2. ให้เด็กๆ ดูลักษณะของไข่ไก่ สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
3. ให้เด็กๆ ดูลักษณะของไข่เป็ด สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
ขั้นสรุป
4. คุณครูและเด็กช่วยกันสรุปลักษณะของไข่ไก่และไข่เป็ด
ขั้นนำ
1. ให้เด็กๆ ช่วยกันต่อจิ๊กซอว์รูปไข่
ขั้นสอน
2. ให้เด็กๆ ดูลักษณะของไข่ไก่ สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
3. ให้เด็กๆ ดูลักษณะของไข่เป็ด สี ขนาด รูปทรง ส่วนประกอบ กลิ่น และบันทึกลงในตารางวิเคราะห์
ขั้นสรุป
4. คุณครูและเด็กช่วยกันสรุปลักษณะของไข่ไก่และไข่เป็ด
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. จิ๊กซอว์รูปไข่
2. ไข่ไก่
3. ไข่เป็ด
4. ถ้วยใส่ไข่
5. แผ่นชาร์ตตารางวิเคราะห์
6. แผ่นชาร์ตไออะแกรม
7. ปากกา
8. ไม้ชี้
1. จิ๊กซอว์รูปไข่
2. ไข่ไก่
3. ไข่เป็ด
4. ถ้วยใส่ไข่
5. แผ่นชาร์ตตารางวิเคราะห์
6. แผ่นชาร์ตไออะแกรม
7. ปากกา
8. ไม้ชี้
การวัดเเละประเมินผล
1. สังเกตจากการอธิบายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของไข่แต่ละฟอง
2. สังเกตจากการฟังและตอบคำถามของครู
3. จากการสังเกตการเปรียบเทียบลักษณะของไข่
1. สังเกตจากการอธิบายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของไข่แต่ละฟอง
2. สังเกตจากการฟังและตอบคำถามของครู
3. จากการสังเกตการเปรียบเทียบลักษณะของไข่
การบูรณาการ
- ภาษา
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- ภาษา
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
แผนการสอนหน่วยไข่
วันพุธ เรื่อง การถนอมไข่
วัตถุประสงค์
1.เด็กสามารถสังเกตไข่สดและไข่ที่เป็นไข่เค็มได้
2.เด็กสามารถบอกวิธีในการทำไข่เค็มได้
3.เด็กสามารถตอบคำถาม การสรุปผลการทดลองและแสดงความคิดเห็นได้
1.เด็กสามารถสังเกตไข่สดและไข่ที่เป็นไข่เค็มได้
2.เด็กสามารถบอกวิธีในการทำไข่เค็มได้
3.เด็กสามารถตอบคำถาม การสรุปผลการทดลองและแสดงความคิดเห็นได้
สาระการเรียนรู้
- สาระที่ควรเรียนรู้
การถนอมอาหารจากไข่ โดยการทำไข่เค็ม
- ประสบการณ์สำคัญ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไข่ การสื่อความหมาย
- สาระที่ควรเรียนรู้
การถนอมอาหารจากไข่ โดยการทำไข่เค็ม
- ประสบการณ์สำคัญ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไข่ การสื่อความหมาย
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงไข่ ขั้นสอน
2. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาพูดคุย ถึงวิธีในการถนอมอาหารจากไข่ โดยใช้คำถามว่า เด็กๆคิดว่าการถนอมไข่สามสารถทำอะไรได้บ้าง นอกจากการทำไข่เค็ม
3.ครูนำอุปกรณ์ในการทำไข่เค็มมาให้ดูแล้วให้เด็กๆทายว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้าง วันนี้เราจะมาทำกิจกรรมอะไรกัน หลังจากนั้นครูก็สาธิตวิธีในการทำไข่เค็มให้เด็กๆดูเป็นตัวอย่าง
4.เด็กๆลงมือปฏิบัติทำกิจกรรม
ขั้นสรุป
5.เด็กและครูพูดคุยสนทนากันหลังจากที่เด็กทำกิจกรรมเสร็จแล้ว
6.เด็กๆทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็กของให้เข้าที่
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงไข่ ขั้นสอน
2. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาพูดคุย ถึงวิธีในการถนอมอาหารจากไข่ โดยใช้คำถามว่า เด็กๆคิดว่าการถนอมไข่สามสารถทำอะไรได้บ้าง นอกจากการทำไข่เค็ม
3.ครูนำอุปกรณ์ในการทำไข่เค็มมาให้ดูแล้วให้เด็กๆทายว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้าง วันนี้เราจะมาทำกิจกรรมอะไรกัน หลังจากนั้นครูก็สาธิตวิธีในการทำไข่เค็มให้เด็กๆดูเป็นตัวอย่าง
4.เด็กๆลงมือปฏิบัติทำกิจกรรม
ขั้นสรุป
5.เด็กและครูพูดคุยสนทนากันหลังจากที่เด็กทำกิจกรรมเสร็จแล้ว
6.เด็กๆทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็กของให้เข้าที่
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1.แผ่นชาร์จเพลงไข่
2.ไข่เป็ด
3.น้ำเกลือ
4.ขวดโหล
5.หม้อ/กระทะ
1.แผ่นชาร์จเพลงไข่
2.ไข่เป็ด
3.น้ำเกลือ
4.ขวดโหล
5.หม้อ/กระทะ
การวัดและการประเมินผล
1.จากการสังเกตเด็กสามารถแยกระหว่างไข่สดกับไข่เค็มได้
2.จากการสังเกตเด็กสามารถเข้าใจและบอกขั้นตอนการทำไข่เค็มได้
3.จากการสังเกตเด็กสามารถตอบและแสดงความคิดเห็นได้
1.จากการสังเกตเด็กสามารถแยกระหว่างไข่สดกับไข่เค็มได้
2.จากการสังเกตเด็กสามารถเข้าใจและบอกขั้นตอนการทำไข่เค็มได้
3.จากการสังเกตเด็กสามารถตอบและแสดงความคิดเห็นได้
การบูรณาการ
1.วิทยาศาสตร์
2.คณิตศาสตร์
3.การคิด/การสังเกต
4.ภาษา
1.วิทยาศาสตร์
2.คณิตศาสตร์
3.การคิด/การสังเกต
4.ภาษา
แผนการสอนหน่วยไข่
วันพฤหัสบดี เรื่อง ประโยชน์ของไข่
วัตถุประสงค์
1.เด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
2.เด็กสามารถจัดหมวดหมู่ของไข่แต่ละประเภทได้
3.เด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
1.เด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
2.เด็กสามารถจัดหมวดหมู่ของไข่แต่ละประเภทได้
3.เด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
สาระการเรียนรู้
-สาระที่ควรเรียนรู้ :
ประโยชน์ของไข่
-ประสบการณ์สำคัญ (ด้านสติปัญญา) : การฟังเรื่องราวนิทาน คำคล้องจอง คำกลอน การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม
-ประสบการณ์สำคัญ (ด้านสติปัญญา) : การฟังเรื่องราวนิทาน คำคล้องจอง คำกลอน การจับคู่ การจำแนก และการจัดกลุ่ม
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูพาเด็กๆพูดคุยสนาทนาเรื่องไข่และถามตอบรวมถึงบอกประโยชน์และข้อควรระวังด้วย "เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้างเอ่ย " "เด็กๆคนไหนชอบกินไข่บ้าง ยกมือขึ้นให้คุณครูดูหน่อย" "แล้วเด็กๆรู้หรือเปล่าว่าไข่มีประโยชน์อะไรบ้าง "และนอกจากไข่จะมีประโยชน์แล้วไข่ก็มีข้อควรระวังด้วยนะ"
2. ครูเล่านิทานเรื่อง"ไข่"ให้เด็กฟัง
3. เมื่อเด็กฟังนิทานจบ ครูถามเด็กว่าในนิทานเรื่อง "ไข่" ครูพูดถึงไข่อะไรบ้าง มีกี่ประเภท ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กสนาทนาด้วยกันหลังฟังนิทานจบ อาจมีถามตอบอีกครั้ง
ขั้นนำ
1. ครูพาเด็กๆพูดคุยสนาทนาเรื่องไข่และถามตอบรวมถึงบอกประโยชน์และข้อควรระวังด้วย "เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้างเอ่ย " "เด็กๆคนไหนชอบกินไข่บ้าง ยกมือขึ้นให้คุณครูดูหน่อย" "แล้วเด็กๆรู้หรือเปล่าว่าไข่มีประโยชน์อะไรบ้าง "และนอกจากไข่จะมีประโยชน์แล้วไข่ก็มีข้อควรระวังด้วยนะ"
2. ครูเล่านิทานเรื่อง"ไข่"ให้เด็กฟัง
3. เมื่อเด็กฟังนิทานจบ ครูถามเด็กว่าในนิทานเรื่อง "ไข่" ครูพูดถึงไข่อะไรบ้าง มีกี่ประเภท ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กสนาทนาด้วยกันหลังฟังนิทานจบ อาจมีถามตอบอีกครั้ง
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- นิทานเรื่องไข่
- นิทานเรื่องไข่
การวัดและประเมินผล
1.จากการสังเกตเด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
2.จากการสังเกตเด็กสามารถจัดหมวดหมู่ไข่แต่ละประเภทได้
3.จากการสังเกตเด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
1.จากการสังเกตเด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
2.จากการสังเกตเด็กสามารถจัดหมวดหมู่ไข่แต่ละประเภทได้
3.จากการสังเกตเด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
บูรณาการ
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- ภาษา
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- ภาษา
แผนการสอนวันศุกร์
คุกกิ้งไข่พระอาทิตย์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ข้อควรระวังของไข่
2.เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้คุณค่าของไข่
3.เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การทำอาหารเมนูไข่
1. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ข้อควรระวังของไข่
2.เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้คุณค่าของไข่
3.เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การทำอาหารเมนูไข่
สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
การทำอาหารจากไข่เมนูไข่พระอาทิตย์
ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสติปัญญา
- สนับสนุนให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องไข่จากการลงมือทำอาหาร ทำให้เด็กได้เห็นคุณค่าของไข่
สาระที่ควรเรียนรู้
การทำอาหารจากไข่เมนูไข่พระอาทิตย์
ประสบการณ์สำคัญ
ด้านสติปัญญา
- สนับสนุนให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องไข่จากการลงมือทำอาหาร ทำให้เด็กได้เห็นคุณค่าของไข่
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์และข้อควรระวังของไข่
ขั้นสอน
2. ครูให้เด็กสังเกตอุปกรณ์และถามเด็กว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้าง และแนะนำอุปกรณ์ให้เด็กๆ ฟัง
3. ครูและเด็กร่วมกันทำอาหารเมนูไข่พระอาทิตย์โดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการจัดเตรียมวัตถุดิบและการทำอาหาร
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กร่วมกันรับประทานอาหารเมนูไข่พระอาทิตย์
5. ล้างมือให้สะอาด
6. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเมนูไข่พระอาทิตย์และให้เด็กนำเสนอว่าตนเองนั้นได้ช่วยทำอะไรบ้าง
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์และข้อควรระวังของไข่
ขั้นสอน
2. ครูให้เด็กสังเกตอุปกรณ์และถามเด็กว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้าง และแนะนำอุปกรณ์ให้เด็กๆ ฟัง
3. ครูและเด็กร่วมกันทำอาหารเมนูไข่พระอาทิตย์โดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการจัดเตรียมวัตถุดิบและการทำอาหาร
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กร่วมกันรับประทานอาหารเมนูไข่พระอาทิตย์
5. ล้างมือให้สะอาด
6. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเมนูไข่พระอาทิตย์และให้เด็กนำเสนอว่าตนเองนั้นได้ช่วยทำอะไรบ้าง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
ข้าวสวย
ไข่ไก่
ซอสปรุงรส
น้ำมัน
กะทะ
ตะหลิว
แครอท
ข้าวสวย
ไข่ไก่
ซอสปรุงรส
น้ำมัน
กะทะ
ตะหลิว
แครอท
การวัดและการประเมินผล
1. จากการสังเกตเด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
2. จากการสังเกตเด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
3. จากการสังเกตเด็กๆ สามารถช่วยครูทำอาหารได้
1. จากการสังเกตเด็กสามารถบอกข้อควรระวังของไข่ได้
2. จากการสังเกตเด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้
3. จากการสังเกตเด็กๆ สามารถช่วยครูทำอาหารได้
การบูรณาการ
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
ศิลปะ
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
ศิลปะ
ทักษะที่ใช้ในการเรียนรู้ (Skill)
- ทักษะการคิด
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการฟัง
เทคนิคการสอนของอาจารย์ (Technique teaching)
ได้รับความรู้ในการเขียนแผนการจัดกิจกรรม และได้ฝึกการเขียนแผน ทำให้เราได้ประสบการณ์และการเขียนแผนการจัดกิจกรรมที่ถูกต้องสามารถนำไปเขียนแผนจัดกิจกรรมและสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้กับเด็กปฐมวัยได้
การประเมิน (Assessment)
- ประเมินตนเอง แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลา และตั้งใจเรียน ตั้งใจทำกิจกรรม
- ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจเรียน และเข้าเรียนตรงเวลา
- ประเมินอาจารย์ อาจารย์ตั้งใจสอน และเข้าสอนตรงเวลา มีการถามคำถามเพื่อให้นักศึกษาคิดอยู่ตลอดการเรียนการสอน และยังให้นักศึกษาได้ฝึกเพื่อเสริมประสบการณ์อีกด้วย
- ประเมินอาจารย์ อาจารย์ตั้งใจสอน และเข้าสอนตรงเวลา มีการถามคำถามเพื่อให้นักศึกษาคิดอยู่ตลอดการเรียนการสอน และยังให้นักศึกษาได้ฝึกเพื่อเสริมประสบการณ์อีกด้วย
คำศัพท์
1. Consult = ปรึกษา
2. Different = แตกต่าง
3. Nature = ลักษณะ
4. Jigsaw = จิ๊กซอว์
5. Analyze = วิเคราะห์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น