Record3 23 August 2016
เนื้อหาการเรียนการสอน (Knowledge)
วันนี้อาจารย์ติดประชุม จึงให้นักศึกษาไปรับงานที่อาจารย์และนำมาสรุปเป็นความเข้าใจของตนเอง โดยมีหัวข้อเรื่องดังนี้
- รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
- คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี
- ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
- ทฤษฎีการเรียนรู้
- หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- การเรียนรู้อย่างมีความสุข
พัฒนาการของเด็กอายุ 3 ขวบ
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ได้
- กระโดดขึ้นลงอยู่กับที่ได้
- รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว
- เดินขึ้นบันไดสลับเท้าได้
- เขียนรูปวงกลมตามแบบได้
- ใช้กรรไกรมือเดียวได้
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
- แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก
- ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม
- กลัวการพลัดพรากจากผู้เลี้ยงดูใกล้ชิดน้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
- รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง
- ชอบเล่นแบบคู่ขนาน (เล่นของเล่นชนิดเดียวกัน แต่ต่างคนต่างเล่น)
- เล่นสมมุติได้
- รู้จักรอคอย
พัฒนาการด้านสติปัญญา
- สำรวจสิ่งต่างๆ ที่เหมือนกันและต่างกันได้
- บอกชื่อของตนเองได้
- ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
- สนทนาโต้ตอบ/เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆ ได้
- สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ
- ร้องเพลง ท่องกลอน คำคล้องจองง่ายๆ และแสดงท่าทางเลียนแบบได้
- รู้จักใช้คำถาม “อะไร”
- สร้างผลงานตามความคิดของตนเองอย่างง่ายๆ
- อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
พัฒนาการของเด็กอายุ 4 ขวบ
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
- รับลูกบอลได้ด้วยมือทั้งสอง
- เดินขึ้น ลงบันไดสลับเท้าได้
- เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษเป็นเส้นตรงได้
- กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยู่เฉย
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
- แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
- เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถ ผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ชอบท้าทายผู้ใหญ่
- ต้องการให้มีคนฟัง คนสนใจ
พัฒนาการด้านสังคม
- แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องส้วมได้เอง
- เล่นร่วมกับคนอื่นได้
- รอคอยตามลำดับก่อน หลัง
- แบ่งของให้คนอื่น
- เก็บของเล่นเข้าที่ได้
พัฒนาการด้านสติปัญญา
- จำแนกสิ่งต่างๆ ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้
- บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได้
- พยายามแก้ปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคำชี้แนะ
- สนทนาโต้ตอบ/เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง
- สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น
- รู้จักใช้คำถาม “ทำไม”
พัฒนาการของเด็กอายุ 5 ขวบ
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
- รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ด้วยมือทั้งสอง
- เดินขึ้น ลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว
- เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งที่กำหนด
- ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือกรองเท้า ฯลฯ
- ยืดตัว คล่องแคล่ว
พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม
- ชื่นชมความสามารถ ผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง
- พัฒนาการด้านสังคม
- ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่ รู้จักไหว้ ทำความเคารพ
- รู้จักขอบคุณ เมื่อรับของจากผู้ใหญ่
- รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
พัฒนาการด้านสังคม
- ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่ รู้จักไหว้ ทำความเคารพ
- รู้จักขอบคุณ เมื่อรับของจากผู้ใหญ่
- รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
พัฒนาการด้านสติปัญญา
- บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่างจำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
- บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได้
- พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- สนทนาโต้ตอบ/เล่าเป็นเรื่องราวได้
- สร้างผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
- รู้จักใช้คำถาม “ทำไม” “อย่างไร”
- เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม
- นับปากเปล่าได้ถึง 20
- สร้างความเป็นกันเองกับผู้เรียนและให้ความอบอุ่นกับผู้เรียน
- ครูจัดสิ่งแวดล้อมในสถานการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนรักสถานศึกษา
- การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- การทดลองของธอร์นไดค์
การนำความรู้จากทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่อเนื่องหรือเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน
- ก่อนที่จะดำเนินการสอน ครูจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและกระตุ้นผู้เรียนให้พร้อมที่จะเรียนเสียก่อน
- ควรมอบหมายงาน แบบฝึกหัด หรือการบ้านให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดกระทำเพื่อให้บรรลุตามหลักสูตร
- ใช้หลักการให้รางวัลและลงโทษ เพื่อให้ผู้เรียน ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์
- ความรู้ถูกสร้างหล่อหลอมโดยประสบการณ์
- ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
- ผู้เรียนอยู้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
- ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกกรมเอง
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
- ความต่อเนื่อง
- การจัดช่วงลำดับ
- บูรณาการ
ฟรอยด์ - ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
อิริคสัน - ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ ประสบผลสำเร็จเด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมมั่นและไว้วางใจผู้อื่น
เพียเจต์ - พัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบๆตัวเด็ก มีการรับรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
ดิวอี้ - เด็กเรียนรู้ด้วยการกระทำ
สกินเนอร์ - ถ้าเด็กได้รับการชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรมเด็กสนใจที่จะทำต่อไป
เปสตาลอสซี่ - ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา
เฟรอเบล - ควรส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กด้วยการกรตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างเสรี
เอลคายน์ - การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
การนำความรู้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคไปใช้ในการเรียนการสอน
- ครูสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน อันเป็นการวางเงื่อนไขที่ดี- สร้างความเป็นกันเองกับผู้เรียนและให้ความอบอุ่นกับผู้เรียน
- ครูจัดสิ่งแวดล้อมในสถานการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนรักสถานศึกษา
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
- ทฤษฎีลองผิดลองถูก- การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- การทดลองของธอร์นไดค์
การนำความรู้จากทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่อเนื่องหรือเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน
- ก่อนที่จะดำเนินการสอน ครูจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและกระตุ้นผู้เรียนให้พร้อมที่จะเรียนเสียก่อน
- ควรมอบหมายงาน แบบฝึกหัด หรือการบ้านให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดกระทำเพื่อให้บรรลุตามหลักสูตร
- ใช้หลักการให้รางวัลและลงโทษ เพื่อให้ผู้เรียน ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์
- ความรู้ถูกสร้างหล่อหลอมโดยประสบการณ์
- ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
- ผู้เรียนอยู้ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
- ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกกรมเอง
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
- ความต่อเนื่อง
- การจัดช่วงลำดับ
- บูรณาการ
หลักการแนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
กีเซล - พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติไม่ควรเร่งหรือบังคับฟรอยด์ - ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
อิริคสัน - ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ ประสบผลสำเร็จเด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมมั่นและไว้วางใจผู้อื่น
เพียเจต์ - พัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบๆตัวเด็ก มีการรับรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
ดิวอี้ - เด็กเรียนรู้ด้วยการกระทำ
สกินเนอร์ - ถ้าเด็กได้รับการชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรมเด็กสนใจที่จะทำต่อไป
เปสตาลอสซี่ - ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา
เฟรอเบล - ควรส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กด้วยการกรตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างเสรี
เอลคายน์ - การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
ทักษะที่ใช้ในการเรียนรู้ (Skill)
- ทักษะการอ่าน
- ทักษะการสรุปองค์ความรู้
- ทักษะการวิเคราะห์
เทคนิคการสอนของอาจารย์ (Technique teaching)
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
- ได้รู้เกี่ยวกับพัฒนาการ และการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยทำให้เราสามารถนำไปประยุกต์ใช้จัดการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างถูกต้อง
การประเมิน (Assessment)
- ประเมินตนเอง แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ และตั้งใจทำงาน
- ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น